Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

源泉税申告の新しいオンラインシステム(E-Withholding Tax)について

源泉税申告の新しいオンラインシステム(E-Withholding Tax)について

歳入局は、2020年6月から源泉税申告のオンラインシステム(E-Withholding Tax)を導入しています。E-Withholding Taxは各銀行のオンラインバンクと連動し、源泉税の申告・納税手続きを効率化させるためのシステムになります。現在E-Withholding Taxの利用は任意となっていますが、2020年10月から2022年12月までに利用する企業は一部の源泉税控除の際のレートが軽減されます。内容は以下の通りです。

・レンタル料金:5%→2% 

・サービス料:3%→2%

※例えば広告費(源泉税率:2%)、輸送サービス(源泉税率:1%)などは軽減率の対象外です。

さらにE-Withholding Taxに関して2020年から2022年までにかかった費用は法人税の申告時に損金として2倍で計上して控除することが可能です。E-Withholding Taxのメリットとして上記の源泉税率の軽減、法人税計算時の優遇の他に従来の源泉税にかかる業務と比べ、業務にかかる手間を減らすことが可能です。

 

E- Withholding Tax利用方法を以下に記載しますので、ご覧下さい。

1.E-Withholding Taxのサービスをしている銀行に事前登録します。

2.送金時にオンラインバンクで送金相手と送金情報(企業情報および金額、VAT、源泉税等)を登録します。

3.銀行側が送金情報に基づき、送金額と源泉税額を銀行が受け取ります。

4.送金額が相手に送金され、E-Withholding Taxから源泉徴収票が受取側に発行されます。源泉税はオンラインバンク経由で歳入局に納税されます。

5.歳入局で源泉税受領後に支払側に納税証明が発行され、支払側と受取側はいつでもE-Withholding Taxのシステム上で源泉徴収票、納税証明の確認・ダウンロードができます。

 

上記の流れで送金手続きをすることで、従来必要であった毎月の源泉税申告(P.N.D.53)が不要になります。ただし、上記以外の方法で支払ったサービス料等については、従来通り毎月の源泉税申告(P.N.D.53)が別途必要になります。

また、現時点ではまだ導入企業が少ないため、支払い相手がオンラインシステムに対応していない場合、E-Withholding Taxから源泉徴収票を印刷して送付を依頼されることが多いかと思われます。今後導入企業数が増えると少しずつ源泉徴収票の印刷が不要になり業務の手間が減り、管理する書類も減る可能性があります。

 

なお、現在E- Withholding Taxの対応が可能な銀行は以下の通りです。

  1. Krung Thai Bank
  2. Kasikorn Bank
  3. Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives
  4. Bangkok Bank (Corporate I Cash service only)
  5. Mizuho Bank
  6. Bank of Ayudhya
  7. Siam Commercial Bank
  8. Sumitomo mitsui Bank
  9. Standard Chartered Bank 

---

ระบบ E-Withholding Tax

กรมรรพากรส่งเสริมให้ใช้ระบบภาษีหัก ณ ที่จ่ายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Withholding Tax) โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 เดือน มิถุนายน  E-Withholding Tax เป็นระบบที่ทำงานร่วมกับระบบออนไลน์ของธนาคารต่างๆเพื่อเพิ่มความสะดวกในการชำระภาษี และนำส่ง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 

ระบบ E-Withholding Tax เป็นระบบที่ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของผู้ใช้ แต่หากเริ่มใช้งานตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2563 ถึงธันวาคม พ.ศ.2565 ผู้ใช้จะได้รับอัตราลดหย่อนภาษีหัก ณ ที่จ่ายบางส่วนลดลง ดังต่อไปนี้

  • ค่าเช่าจาก 5% เหลือ 2%
  • ค่าบริการ 3% เหลือ 2%

หมายเหตุ: ค่าโฆษณา (อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย: 2%) และบริการขนส่ง (อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย: 1%) ซึ่งเป็นค่าบริการเช่นเดียวกัน แต่จะไม่รวมอยู่ในนโยบาย E-Withholding Tax

นอกจากนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถ นำรายจ่ายจากการลงทุนและการใช้บริการระบบ e-Withholding Tax  มาหักเป็นรายจ่ายได้ 2 เท่า ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 – 31 ธันวาคม 2565 ซึ่งข้อดีจากการใช้งาน e-Withholding Tax  นอกจากอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ลดลงแล้ว ยังช่วยลดภาระด้านการทำงานเก็บเอกสารและภาษีเงินได้นิติบุคคล เมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่ไม่ได้ใช้บริการระบบนี้

วิธีการใช้งาน

  1. ลงทะเบียนใช้งานระบบกับธนาคารที่ให้บริการ E-Withholding Tax
  2. ในณะที่ทำรายการจ่ายเงินให้คู่ค้า จำเป็นที่จะต้องกรอกข้อมูลการโอนเงิน (จำนวนจ่ายเงิน, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย)
  3. ธนาคารได้รับข้อมูลจำนวนเงินที่นำส่งและจำนวนภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากข้อมูลที่ทำการอัพโหลดเข้ามา
  4. ธนาคารทำรายการโอนเงินด้วยมูลค่าสินค้าและบริการหลังหักภาษี ณ ที่จ่ายเข้าบัญชีผู้รับเงิน พร้อมทั้งแจ้งข้อมูลการรับโอนเงินเข้าบัญชีและนำส่งภาษี หัก ณ ที่จ่าย ให้สรรพากร
  5. หลังจากที่ธนาคารส่งข้อมูลให้ทางสรรพากรแล้ว กรมสรรพากรจะออกใบรับรองการเสียภาษีให้กับผู้จ่ายเงินซึ่ง ทั้งผู้จ่ายเงินและผู้รับเงินสามารถตรวจสอบและดาวน์โหลดใบหักภาษี ณ ที่จ่ายและใบรับรองการเสียภาษีได้ทุกเมื่อในระบบภาษีหัก ณ ที่จ่าย

เมื่อทำตามขั้นตอนข้างต้นแล้วการยื่นภาษีหัก ณ ที่จ่ายรายเดือน (ภ.ง.ด. 53) จะไม่จำเป็นที่จะต้องนำส่งอีกต่อไป (เฉพาะรายการที่มีการจ่ายเงินผ่านระบบ E-Withholding Tax แตกต่างจากในอดีตที่จำเป็นจะต้องทำเอกสารนำส่งเพื่อเสียภาษี อย่างไรก็ตามสำหรับค่าบริการที่ชำระด้วยวิธีอื่นนอกเหนือจากข้างต้นจะต้องมีการนำส่งรายงานภาษี หัก ณ  ที่จ่ายรายเดือน (ภ.ง.ด. 53) เหมือนเดิม

 

นอกจากนี้ ในช่วงแรกๆจำนวนบริษัทที่ใช้ระบบ ว่า E-Withholding Tax น่าจะมีไม่มาก มีความเป็นไปได้ที่คู่ค้าที่ไม่ได้ใช้ระบบนี้อาจจะมาขอเอกสารเพื่อนำไปใช้ในทางบัญชี แต่ในอนาคตหากบริษัทหรือผู้ประกอบการใช้บริการเพิ่มขึ้น ระบบนี้ขะช่วยปริมาณงานและลดจำนวนเอกสารได้อย่างแน่นอน

ปัจจุบันธนาคารที่รองรับระบบ E-Withholding Taxมีดังต่อไปนี้

  1. กรุงไทย
  2. กสิการไทย
  3. ธกส.
  4. กรุงเทพ (ระบบ cooperate I cash)
  5. มิซูโฮะ
  6. กรุงศรีอยุธยา
  7. ไทยพาณิชย์
  8. ซูมิโตโม มิตซุย
  9. สแตนดาร์ตชาร์เตอร์

 

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List