Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

リモートワークの就労者と専門家向けのタイ長期居住者ビザの取得要件について

リモートワークの就労者と専門家向けのタイ長期居住者ビザ(Long Term Resident visa : LTR Visa)の取得要件について

タイ長期居住者ビザ(Long Term Resident visa : LTR Visa)は富裕層、高所得者、リモートワークの就労者を誘致する目的で2021年9月14日、2022年5月10日(改訂)の閣議決定を経て、2022年9月1日にタイ投資委員会事務局(Board of Investment : BOI)により正式に発表されました。BOIがLTRという新しい機関を設置し、LTR Visaの申請と受け取りはオンラインで申請しバンコクの場合OSOSにあるLTRで受け取り、外国の場合タイ王国大使館で受け取りとなります。本ビザは1.高所得者(Wealthy global citizen)、2.外国の定年退職者 (Wealthy pensioner)、3.タイでの就労希望者 (Work-from-Thailand professional)、4.専門家 (High-Skilled professional)の4種類あります。

本ビザは5年間有効とし延長申請を行うことで5年間延長し、合わせて最大10年間の有効期間となります。また、イミグレーションへの報告も通常の90日毎の報告から1年毎の報告に延長されます。

 

こちらの「3. タイでの就労希望者 (Work-from-Thailand professional)」についてはタイでリモートワークをする外国人のみが対象となっています。そのためいわゆる駐在員の方は申請の対象外となります。また、タイでの就労希望者 (Work-from-Thailand professional)の申請に以下の条件が追加されました。

1)雇用主は上場会社、または創業3年以上で、過去3年間の合計収入が1億5千万USD以上の会社でなければならない。

2)申請者は過去10年間で現職の関連分野での経験を5年以上持つこと。

3)申請者は5万USD以上の健康保険、タイ社会保険を保有すること、または10万USD以上の銀行預金があること。

 

また、「4. 専門家 (High-Skilled professional)」についても申請パターンは2つありますが、いずれの場合も自動車、エレクトロニック、観光業、農業、生物工学、加工品、ロボット、航空、燃料、デジタル、医学、国防 などの特定の業種の場合のみ申請が可能となっており、駐在員でも申請が可能なケースは限らます。条件は以下の通りです。

・雇用主が企業、高等教育機関、研究機関、特定分野訓練期間、タイ政府機関で、対象事業に該当する

対象事業:(自動車、エレクトロニック、観光業、農業、生物工学、加工品、ロボット、航空、燃料、デジタル、医学、国防 など)

・対象事業いずれかの5年以上の職務経験(対象事業において博士卒業以上、またはタイ政府機関で働く場合は5年未満でもいい)

・5万USD以上の健康保険、タイ社会保険を保有すること、または10万USD以上の銀行預金があること

≪パターン1≫

・直近2年間の年間所得8万USD以上

≪パターン2≫

・年間所得4万USD以上8万USD未満の場合:科学技術分野において修士卒業以上、またはタイで担当する業務に関連する専門家でなければならない

 

ワークパーミットについても5年間の許可が得られ、その後延長申請する流れとなっています。

なお、ビザ有効期間の間にビザ所有者が申請時に在籍していた会社を退職する場合はLTRに通知しキャンセルする必要があります。本ビザを所有している方が転職する場合はLTRに通知し、転職先が条件を満たしている会社であるか承認を得なければなりません。

---

เงื่อนไขการขอวีซ่าระยะยาวประเภทใหม่Long Term Resident visa : LTR Visaสำหรับผู้ที่ต้องการทำงานจากประเทศไทย และผู้มีทักษะเชี่ยวชาญพิเศษ

เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา ทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) ได้เปิดตัววีซ่าเพื่อการลงทุนและพำนักอาศัยระยะยาว (Long Term Resident visa : LTR Visa) อย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นผลจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 14 กันยายน 2564 แก้ไข 10 พฤษภาคม 2565 ที่ได้กำหนดวีซ่าชนิดใหม่ขึ้นมาเพื่อดึงดูดชาวต่างชาติที่มีความมั่งคั่ง มีรายได้สูงที่ต้องการอยู่อาศัยหรือผู้ที่ต้องการทำงานจากประเทศไทยในระยะยาว และทาง BOI ได้มีการจัดตั้งหน่วยงาน LTR ขึ้น โดยจะทำการขอวีซ่าผ่านระบบออนไลน์  และออกตัววีซ่าที่หน่วยงาน LTR ที่ศูนย์ OSOS กรณีขอออกที่กรุงเทพฯ และที่สถานเอกอัครราชทูตไทยกรณีขอออกที่ต่างประเทศ วีซ่าประเภทนี้มีทั้งสิ้น 4 ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มประชากรโลกผู้มีความมั่งคั่งสูง (Wealthy global citizen), 2. กลุ่มผู้เกษียณอายุจากต่างประเทศ (Wealthy pensioner), 3. กลุ่มที่ต้องการทำงานจากประเทศไทย (Work-from-Thailand professional),    4. กลุ่มผู้มีทักษะเชี่ยวชาญพิเศษ (High-Skilled professional)

ระยะวีซ่าชนิดนี้ที่ชาวต่างชาติจะได้รับคือ 5 ปี และสามารถขอต่ออายุวีซ่าเพิ่มได้อีก 5 ปี รวมกันเป็น 10 ปี โดยจะต้องรายงานตัวกับสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองทุก ๆ 1 ปีแทนการรายงานตัวทุก ๆ 90 วัน

 

ในประเภทที่ 3 กลุ่มที่ต้องการทำงานจากประเทศไทย (Work-from-Thailand professional) นั้น ผู้ที่เข้าเงื่อนไขมีเพียงชาวต่างชาติที่ทำงานระยะไกลจากประเทศไทย ซึ่งชาวต่างชาติที่ทำงานบริษัทในเครือในไทย, สำนักงานผู้แทน หรือสังกัดทั้งต่างประเทศและไทยจะไม่สามารถขอวีซ่าประเภทนี้ได้ อีกทั้งยังได้มีข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับวีซ่าประเภทนี้ ดังต่อไปนี้

1. บริษัทที่ชาวต่างชาติทำงานอยู่จะต้องเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือ ดำเนินงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และมีรายได้ไม่น้อยกว่า 150 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐรวมกันในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา
2. ชาวต่างชาติที่ยื่นคำขอจะต้องมีประสบการณ์ในสาขาที่ตนทำงานอยู่ไม่น้อยกว่า 5 ปีในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา
3. มีประกันสุขภาพที่มีวงเงินคุ้มครองไม่น้อยกว่า 50,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ หรือ เงินฝากในบัญชีไม่น้อยกว่า 100,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ

 

ในประเภทที่ 4 กลุ่มผู้มีทักษะเชี่ยวชาญพิเศษ (High-Skilled professional) นั้นแบ่งเงื่อนไขออกเป็น 2 รูปแบบ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหน ก็จำเป็นต้องทำงานในอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ เช่นยานยนต์, อิเล็กทรอนิกส์, ท่องเที่ยว, เกษตร, เทคโนโลยีชีวภาพ, แปรรูปอาหาร, หุ่นยนต์, การบิน, เชื้อเพลิง, ดิจิทัล, การแพทย์, ป้องกันประเทศ ฯลฯ) ทำให้ชาวต่างชาติที่สามารถขอวีซ่าประเภทนี้ได้มีจำกัด นอกจากนั้นจะต้องตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้ด้วยเช่นกัน

- นายจ้าง ต้องเป็นธุรกิจ หรือสถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัย สถาบันฝึกอบรมเฉพาะทาง หรือหน่วยงานภาครัฐ และจัดอยู่ในอุตสาห์กรรมเป้าหมาย

- มีประสบการณ์การทำงาน 5 ปีขึ้นไปในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (กรณีที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย หรือผู้ที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐ ไม่จำเป็นต้องถึง 5 ปี)

- มีประกันสุขภาพที่มีวงเงินคุ้มครองไม่น้อยกว่า 50,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ หรือ สิทธิประกันสังคมในไทย หรือ เงินฝากในบัญชีไม่น้อยกว่า 100,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ

<รูปแบบที่ 1>

- ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมามีรายได้ขั้นต่ำปีละ 80,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ

<รูปแบบที่ 2>

- กรณีที่มีรายได้ปีละ 40,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 80,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ จำเป็นต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไปในสาขาด้านวิทยาศาสตร์หรือเทคโนโลยี หรือมีความเชี่ยวชาญ ในสายงานที่จะเข้ามาทำงานในประเทศไทย

สำหรับประเภทที่ 4 นี้ ชาวต่างชาติจะต้องทำเรื่องขอใบอนุญาตการทำงานในประเทศไทย ซึ่งจะได้รับอนุญาตสูงสุดไม่เกิน 5 ปี และหากต้องการทำงานต่อจะต้องไปทำเรื่องขอต่ออายุใบอนุญาตก่อนหมดอายุ

กรณีที่ชาวต่างชาติลาออกจากบริษัทที่ตนสังกัดขณะขอวีซ่า ระหว่างระยะเวลาที่ได้รับวีซ่า จะต้องทำเรื่องแจ้งและยกเลิกกับทางหน่วยงาน LTR รวมถึงกรณีที่เปลี่ยนที่ทำงานแต่ต้องการถือวีซ่าชนิดนี้ต่อไป ให้แจ้งกับหน่วยงาน LTR เพื่อตรวจสอบบริษัทต้นสังกัดใหม่ว่าเข้าเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List