Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

建設サービス支払い時の源泉税について

建設サービス支払い時の源泉税について

建設サービスの支払い時には建設の材料や工事の費用などのほかに労務費も含まれるケースが多くなります。ただし、建設サービスの請求書で材料と労務費が区分されずに源泉税の控除対象が明確ではないケースがみられます。労務費の支払いは源泉税控除の対象となりますのでご留意頂ければと思います。源泉税を引かずに支払いをする場合、後日ペナルティが発生する可能性があります。今回は建設サービスに関する請求書の源泉税の確認方法について記載致します。

通常には請求書は2つのフォーマットがあります。

請求書①            請求書②

金額 〇〇〇          金額 〇〇〇

VAT 〇〇〇          VAT 〇〇〇

合計 〇〇〇          源泉税控除 〇〇〇

                合計 〇〇〇

 上記のように請求書のフォーマットにより、源泉税控除を明記する場合、しない場合の2つのパターンがあります。請求書①のフォーマットの場合、支払側にとって源泉税の控除が必要かどうかの判断が難しい場合があります。請求書①のフォーマットの場合、支払い時に源泉税を引く必要があるかどうか、引く必要があれば何パーセントで引くかは支払者が判断しなければなりません。建設サービスの支払い時には出来高30%、前払50%など出来高や前払いでの請求の場合もありますので、源泉税の確認がさらに難しくなります。

一般的に支払い側の源泉税の控除方法は以下の2通りがみられます。

1. 合計金額で源泉税を控除

請求額     100,000

VAT      7,000

源泉税控除   3,000 ←源泉税の計算は合計金額100,000の3パーセント

こちらの場合支払い側は多く源泉税を控除しているため税務リスクは少なくなりますが、合計金額から源泉税を控除することに請求書発行者が同意しないケースもみられます。

2. 請求書発行者に労務費を確認し、労務費に基づき源泉税を控除

請求額    100,000 →材料費70,000 労務費30,000

材料費    70,000

労務費    30,000

VAT     7,000

源泉税控除  900 ←源泉税の計算は30,000の人工費の3パーセント

こちらの方法の場合には労務費からのみ源泉税を控除するため、材料費と労務費に分けた請求書を発行してもらう必要があります。

業者によってもいずれの方法を望むかは変わることがありますので、事前に打ち合わせをして源泉税の控除金額を明確にすることをお勧め致します。

---

ภาษี หัก ณ ที่จ่ายในใบแจ้งหนี้ ผู้รับเหมางานก่อสร้าง

ปัญหานึงที่พบบ่อยมาก สำหรับการจ่ายเงินค่าจ้างให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างนั้นคือ การที่ผู้ประกอบการไม่รู้ถ้าแท้จริงแล้วรายการค่าก่อสร้างนั้นมีค่าแรงที่แอบแฝงมาด้วย ค่าแรงถือเป็นค่าบริการจำเป็นที่จะต้องมีการคิด หัก ณ ที่จ่ายและนำส่งต่อกรมสรรพากร ซึ่งหากผู้ประกอบการไม่ได้หักและนำส่งภาษี หัก ณ ที่จ่ายแล้ว  อาจจะเสียเบี้ยปรับเงินเพิ่มได้ภายหลัง ทางเราเลยอยากแนะนำ วิธีการตรวจสอบหัก ณ ที่จ่าย สำหรับใบแจ้งหนี้ ผู้รับเหมางานก่อสร้าง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน

 

ก่อนอื่นต้องอธิบายตัวใบแจ้งหนี้ให้ทราบก่อนว่า โดยปกติแล้วใบแจ้งหนี้ที่เราเห็นนั้นจะมีหลัก เป็น 2แบบ

 

ใบแจ้งหนี้แบบที่ 1                                                                 ใบแจ้งหนี้แบบที่ 2

Amount                  xxx                                                      Amount                  xxx

VAT                        xxx                                                     VAT                        xxx

Total                       xxx                                                     WHT (Minus)          xxx

                                                                                        Total                      xxx

จะเห็นได้ชัดว่า การออกใบแจ้งหนี้นั้นจะมีทั้งออกแบบคิดภาษี หัก ณ ที่จ่ายให้ และ ไม่มี ซึ่งส่วนใหญ่ที่ผู้ประกอบการจะสับสนคือแบบที่ 1 ทั้งนี้ผู้ให้บริการสามารถออกใบแจ้งหนี้แบบไหนก็ได้เนื่องจากไม่มีกฎหมายบังคับ แต่ผู้รับบริการหรือคนจ่ายเงินนั้นจะต้องแยกให้ได้ว่ามีหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ หัก ณ ที่จ่ายกี่เปอร์เซ็นต์ เพื่อนำส่งสรรพากร สำหรับงานก่อสร้างนั้นจะออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินต่อเมื่องานสำเร็จตามขั้นตอน หรือ ตามที่ตกลงกันไว้ ทำให้บางครั้งเนื้อหาในการออกใบแจ้งหนี้ ค่อนข้างเข้าใจได้ยาก เช่น Complete phase 1 (30%), Advance for job (50%) และอื่น

 

เพื่อที่จะให้ผู้ประกอบการสามารถจ่ายเงินได้ถูกต้อง วิธีการตรวจสอบจึงมี 2 วิธี

 

  1. นำจำนวนเงินทั้งหมดมาคิด ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ตัวอย่าง

Complete phase 1 (30%)        100,000  

Vat                                        7,000

WHT                                      3,000       ←ผู้ประกอบการสามารถคำนวณเงิน หัก ณ ที่จ่ายได้จากยอดเต็ม 100,000*3%

โดยวิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายต่อการโดนตรวจจากสรรพากร แต่ จะทำให้ผู้รับเหมาได้เงินน้อยกว่าปกติเพราะค่าของในการก่อสร้างถูกนำมาหัก3% ทำให้ทาง ผู้รับเหมาอาจจะไม่ยินยอม

 

  1. สอบถามผู้รับเหมาไปโดยตรงว่า มีค่าแรงเท่าไหร่ ค่าของเท่าไหร่เพื่อที่ทางเราจะสามารถแยก ภาษี หัก ณ ที่จ่ายได้

จากตัวอย่างเดิม

Complete phase 1 (30%)        100,000   → ค่าของ 70,000  ค่าแรง 30,000 

Equipment                             70,000

Labor Fee                               30,000

Vat                                        7,000

WHT                                      900 ← คิดจากค่าแรงเท่านั้น 30,000*3%

วิธีที่2สามารถ ลดเงินภาษี หัก ณ ที่จ่ายได้ นอกจากนั้นยังทำให้ผู้รับเหมาได้รับเงินไปในแบบที่เขาควรจะได้ แต่วิธีการนี้สรรพากรสามารถขอข้อมูลค่าอุปกรณ์เพื่อพิจารณาเรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่ายได้ หากจะใช้วิธีนี้ทางที่ดีควรจะแยก ใบแจ้งหนี้ออกเป็น2ใบ แบ่งออกเป็นค่าแรง และ ค่าของ

ทั้งสองวิธีสามารถดำเนินการได้ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด ขึ้นอยู่กับข้อตกลงและสัญญาของทั้งสองฝั่ง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

 

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List