Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

従業員の福利厚生変更について

従業員の福利厚生変更について

タイでは年末に会社が社員旅行を行うことが多くありますが、新型コロナウイルス感染拡大のため、社員旅行は新型コロナウイルスの感染リスクが高いため、社員旅行を実施しないケースもみられます。社員旅行を実施しないことが従業員に不利益になるとみなされる可能性もあります。また、その他の福利厚生についても不利益変更にあたる場合には変更手続きに注意して進める必要があります。

 

会社が毎年社員旅行を行う場合、社員旅行は従業員の福利厚生と考えられます。労働関係法第5条(※1)により、福利厚生は雇用条件の一部となりますので、雇用条件に反する取り扱いをすることはできません。しかし、経済状況などにより、活動の内容を変更することは雇用条件に反していないため可能と考えられます。たとえば新型コロナウイルスの感染リスクの比較的少ない別の活動の実施や、別の金銭の支給などを代わりに行うことが考えられます。

 

会社は福利厚生委員会がある場合、従業員の福利厚生変更は労働者保護法の第97条(※2)に基づき福利厚生委員会と変更する福利厚生について相談し、また従業員から個別の同意を取り付ける必要があります。20人以上の従業員がいる場合、同意を雇用協約書として作成する必要があります(労働関係法第10条)。福利厚生の変更は有利になる変更ではない限り、同意を取り付けてから進めなければなりません(労働関係法第20条)。

 

福利厚生の変更が有利になるかどうかが曖昧なケースでは従業員と相談する必要があり、また同意を取り付けるのが望ましくなります。従業員から同意を取り付け、発表を行うことで福利厚生を変更することができます。

 

__________________________________________________________________________________

(※1)労働関係法第5条により、雇用条件とは雇用または労働の条件、就業日及び時間、賃金、福祉、解雇、その他雇用または労働に係る使用者及び被雇用者の利益についての規定を意味します。

(※2)労働者保護法の第97条は会社に福利厚生の提供について意見及び指針を提出するために事業所内福利厚生委員会の権限を定めています。

---

การเปลี่ยนแปลงสวัสดิการพนักงาน

ในช่วงเวลาปลายปี หลายๆบริษัท มีแพลนที่จะพาพนักงานไปท่องเที่ยวประจำปี (company trip)  แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ที่ยังมีการแพร่ระบาดอยู่ การไปท่องเที่ยวจึงเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างมีความเสี่ยงส่งผลเสียต่อบริษัทและพนักงาน การยกเลิกกิจกรรมท่องเที่ยวประจำปีจึงเป็นอีกตัวเลือกที่หลายๆบริษัทตัดสินใจจะทำซึ่งส่งผลทำให้พนักงานเสียผลประโยชน์ในด้านของสวัสดิการ ในการเปลี่ยนแปลงสวัสดิการพนักงานที่ส่งผลเสียต่อพนักงานนั้นทำได้หรือไม่ จะขออธิบายดังต่อไปนี้

 

ในกรณีที่บริษัทดำเนินการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวประจำปี (company trip)  ต่อเนื่องมาทุกปี ซึ่งเป็นสวัสดิการที่บริษัทจัดให้พนักงานมาตลอด ย่อมถือได้ว่าการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวนี้เป็นสภาพการจ้าง1ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ซึ่งผูกพันกับบริษัทและต้องปฏิบัติต่อ แต่การปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมของบริษัทนั้นเป็นการกำหนดรายละเอียดของแต่ละบริษัทตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลาซึ่ง สามารถทำได้เพราะไม่ถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง

 

การเปลี่ยนแปลงสวัสดิการพนักงานนั้นจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไข พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 972กล่าวคือ บริษัทจำเป็นจะต้องตกลงกับ คณะกรรมการสวัสดิการในบริษัทและลูกจ้างเพื่อจัดหาสวัสดิการทดแทนให้กับลูกจ้าง และจะต้องได้รับความยินยอม หากบริษัทมีลูกจ้างตั้งแต่ 20 คนขึ้นไป จะต้องมีการทำข้อตกลงออกมาเป็นหนังสือ (พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา  10)  ทั้งนี้หากตกลงกันได้แล้ว นายจ้างจะต้องปฎิบัติตามข้อตกลง ยกเว้นข้อตกลงใหม่มีคุณประโยชน์มากกว่าข้อตกลงเก่า (พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา  20)

 

การเปลี่ยนแปลงสวัสดิการของพนักงานนั้น หากเปลี่ยนแปลงไปในทางที่มีคุณประโยชน์มากขึ้นไม่จำเป็นต้องขอความยินยอมจากคณะกรรมการสวัสดิการในบริษัทและลูกจ้าง หากแต่สวัสดิการที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น มีคุณประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างไม่ชัดเจน จำเป็นจะต้องปรึกษากับทางพนักงาน ซึ่งหากได้รับความยินยอมและมีการประกาศอย่างชัดเจน สามารถเปลี่ยนแปลงได้

 

_____________________________________________________________________________________

1 "สภาพการจ้าง" หมายความว่า เงื่อนไขการจ้างหรือการทํางาน กําหนดวันและเวลา ทํางาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้างหรือลูกจ้างอันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทํางานตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 มาตรา 5

2 “มาตรา97” กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการไว้ เพื่อให้ร่วมหารือ ให้คำปรึกษา และเสนอแนะความเห็นแก่นายจ้างในการจัดสวัสดิการให้แก่ลูกจ้าง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List