Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

2021年8月の社会保険事務所から従業員及び事業主への給付金について

2021年8月の社会保険事務所から従業員及び事業主への給付金について

2021年7月17日に社会保険事務所は、バンコクを含む厳格最高管理区域で下記の9業種で働いている社会保険 33 号の被保険者(いわゆる従業員)および授業主に1ヵ月分の給付金を支給することを発表しました。

1.  建設業

          住宅建設、道建設、橋及びトンネル建設、水道施設、排水設備工事

2.  ホテル ・宿泊所および飲食業

          ホテル、リゾート、ゲストハウス、ホームステイ、レストラン、屋台、市場、宴会場運営、アルコールをメインで提供する店舗

3.  娯楽業

          フィットネスクラブ・運動競技場、スポーツクラブ、遊園地・テーマパーク、劇場・興行場

4.  他事業サービス

          スパ、理容業、美容業、葬祭業、その他事業サ-ビス業

5.  運輸業および倉庫業

          バンコクとの他県および県と県の道路旅客運送業、個人の道路旅客運送業 例 タクシー/三輪タクシー/バイクタクシー、冷蔵運送、コンテナ輸送

6.  卸売・小売および自動車整備業

          デパート、スーパー・センター、小売業

7. 管理・サポート業

          旅行業、ガイド、警備業、家事サ-ビス業、イベントサービス

8.  専門サ-ビス業、理科に関する事業

          アカデミックに関する事業、デザイン及び内装事業、会計監査、税務コンサルティング

9.  情報・広告業及び映画製作、番組政策、映画館

 

給付金の受給方法

社会保険 33 号の被保険者(いわゆる従業員)の場合;

https://www.sso.go.th/eform/covid-compensate/checkEmployeeCompensation.jsp

          給付の権利を確認してからPromptpay登録し、銀行口座番号と身分証明証番号を紐付けます。社会保険 33 号の被保険者は給付金の2,500バーツを支給されます。さらに不可抗力休業で働けない場合又は会社から給与が支給されない場合、賃金の50%(上限7,500バーツ/1月)の給付金が受けられます。

従業員が賃金補償又は給付金を支給される条件

 

社会保険事務所

会社

給付の対象になる9業種の会社で働いていて、政府の命令により一時休業の場合

賃金の50%

 

給付金2,500バーツ

 

給付の対象になる9業種の会社で働いていて、会社都合で一時休業の場合(労働局届出無し)

給付金2,500バーツ

会社による100%の給与補償、または年次有給休暇の使用もしくは同意に基づく賃金補償など

給付の対象になる9業種の会社で働いていて、会社都合で一時休業の場合(労働局届で有り)

給付金2,500バーツ

賃金の75%(労働者保護法)

給付の対象になる9業種の会社で働いていて、休業していない場合

給付金2,500バーツ

 

 

事業主の場合;

https://www.sso.go.th/eform/covid-compensate/checkCompanyCompensation.jsp

          社会保険事務所は会社の登録住所に通知書を送付します。通知書が届いた後、以下の書類を用意し、管轄の社会保険事務所に提出する必要があります。

1. 会社登記簿のコピー

2. 取締役のIDカード又はパスポートのコピー

3. 会社の銀行口座の通帳のコピー

4. 社会保険事務所からの通知書

          なお、万が一社会保険事務所から通知書が届いていない場合でも、上記のその他の書類を管轄の社会保険事務所に提出することも可能です。

 

          給付金の金額は会社員の人数により、1名当たり3,000バーツ、最大200名、600,000バーツが受けられます。

          また、給付金が受けられる9業種に関する事業を営んでいるものの、社会保険のウェブサイトで給付金を受ける権利がないと確認された場合、登録業種の追加・変更が必要な可能性があります。まずは、管轄の社会保険事務所に登録業種を確認するのが望ましいかと思います。9業種に関する事業に追加・変更をした場合、管轄の社会保険事務所の担当官が給付金の支給の可否を再度判断することとなります。

---

เงินเยียวยาลูกจ้างและนายจ้างจากสำนักงานประกันสังคมประจำเดือนสิงหาคม 2564

เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา ทางประกันสังคมได้ประกาศจ่ายเงินเยียวยาจำนวน 1 เดือนให้กับลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และนายจ้างที่อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดซึ่งรวมถึงจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่ประกอบกิจการ 9 ประเภท ดังต่อไปนี้

  1. กิจการก่อสร้าง

การก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย, การก่อสร้างถนน, สะพานและอุโมงค์, การติดตั้งระบบประปาและระบายน้ำ

  1. กิจการที่พักแรมและบริการด้านอาหาร

โรงแรม, รีสอร์ท, เกสต์เฮาส์, ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท, การบริการด้านอาหารในภัตตาคาร/ร้านอาหาร, การบริการด้านอาหารบนแผงลอยและตลาด, การบริการด้านการจัดเลี้ยง, การบริการด้านเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นหลักในร้าน

  1. กิจการศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ

การดําเนินงานของสถานที่ออกกําลังกาย, กิจกรรมด้านสโมสรกีฬา, กิจกรรมด้านสวนสนุกและธีมปาร์ค, กิจกรรมการแสดงโชว์เพื่อความบันเทิงและการนันทนาการ

  1. กิจการบริการด้านอื่น ๆ

กิจกรรมสปา, กิจกรรมการแต่งผม, กิจกรรมการดูแลความงาม แต่งเล็บมือและเล็บเท้า, กิจกรรมเกี่ยวกับงานศพและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

  1. กิจการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า

การขนส่งผู้โดยสารทางรถโดยสารประจําทางระหว่างกรุงเทพฯ กับจังหวัดอื่น และระหว่างจังหวัด, การขนส่งผู้โดยสารโดยรถยนต์รับจ้าง/แท็กซี่/รถสามล้อเครื่อง จักรยานยนต์รับจ้าง, การขนส่งสินค้าแช่เย็นหรือแช่แข็งทางถนน, การขนส่งสินค้าที่บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ทางถนน

  1. กิจการขายส่งและขายปลีก การซ่อมยานยนต์

ห้างสรรพสินค้า, ซุปเปอร์เซ็นเตอร์, การขายปลีกสินค้าทั่วไป

  1. กิจการบริหารและบริการสนับสนุน

ธุรกิจจัดนําเที่ยว, กิจกรรมของมัคคุเทศก์, กิจกรรมการรักษาความปลอดภัย, การบริการทําความสะอาด, การจัดการประชุมและจัดการแสดงสินค้า (Event)

  1. กิจการวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และกิจการทางวิชาการ

กิจกรรมของบริษัทโฆษณา, กิจกรรมการออกแบบและตกแต่งภายใน, การตรวจสอบบัญชี, การให้คําปรึกษาด้านภาษี

  1. กิจการข้อมูลข่าวสารและสื่อสาร

กิจกรรมการผลิตภาพยนตร์และวีดิทัศน์, กิจกรรมการผลิตรายการโทรทัศน์, กิจกรรมด้านการจัดฉายภาพยนตร์

 

ช่องทางในการตรวจสอบสิทธิ

สิทธิลูกจ้างผู้ประกันตนมาตรา 33;

https://www.sso.go.th/eform/covid-compensate/checkEmployeeCompensation.jsp

สำหรับลูกจ้างเมื่อตรวจสอบสิทธิเรียบร้อยแล้ว จะต้องทำเรื่องเปิดใช้พร้อมเพย์กับธนาคารและผูกเลขบัตรประชาชนให้เรียบร้อย โดยลูกจ้างตามสิทธิประกันตนมาตรา 33 ทุกคนจะได้รับเงินเยียวยา 2,500 บาทต่อคน และในกรณีที่หยุดงานจากเหตุสุดวิสัยหรือไม่ได้รับค่าจ้างจากนายจ้าง จะได้รับเงินเยียวยาเพิ่มอีก 50% ของเงินค่าจ้างรายเดือน แต่ไม่เกิน 7,500 บาท

ตารางค่าจ้างชดเชยหรือเงินเยียวยาที่ลูกจ้าจะได้รับในกรณีต่าง ๆ

 

ประกันสังคม

นายจ้าง

ทำงานอยู่ในบริษัทที่รัฐสั่งหยุดกิจการ และบริษัทอยู่ในหมวด 9 กิจการที่มีสิทธิได้รับเงินเยียวยา

50% ของรายได้

-

2,500 บาท

ทำงานอยู่ในบริษัทที่อยู่ในหมวด 9 กิจการที่มีสิทธิได้รับเงินเยียวยา ซึ่งมีการหยุดงานด้วยเหตุผลของบริษัทเอง (ไม่ต้องส่งเอกสารแจ้งหยุดกิจการชั่วคราวให้กับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)

2,500 บาท

ขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ว่านายจ้างจะจ่ายชดเชยรายได้ 100% ของค่าจ้างหรือให้ลูกจ้างใช้วันลาพักผ่อน

ทำงานอยู่ในบริษัทที่อยู่ในหมวด 9 กิจการที่มีสิทธิได้รับเงินเยียวยา ซึ่งมีการหยุดงานด้วยเหตุผลของบริษัทเอง (ต้องส่งเอกสารแจ้งหยุดกิจการชั่วคราวให้กับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)

2,500 บาท

จ่ายชดเชย 75% ของรายได้ (ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน)

ทำงานอยู่ในบริษัทที่อยู่ในหมวด 9 กิจการที่มีสิทธิได้รับเงินเยียวยา ซึ่งไม่ได้มีการหยุดงาน

2,500 บาท

-

 

สิทธิโครงการเยียวยานายจ้าง;

https://www.sso.go.th/eform/covid-compensate/checkCompanyCompensation.jsp

สำหรับนายจ้าง ทางสำนักงานประกันสังคมจะเอกสารไปตามที่อยู่ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ เมื่อนายจ้างได้รับเอกสารแล้ว ให้รีบยื่นเอกสารดังต่อไปนี้ให้กับสำนักงานประกันสังคมประจำเขตพื้นที่ที่บริษัท/ร้านสังกัดอยู่

  1. สำเนาหนังสือรับรอง
  2. สำเนาหน้าบัตรประชาชน หรือ พาสปอร์ตของกรรมการผู้มีอำนาจ
  3. สำเนาหน้าบัญชีธนาคารที่เปิดในนามบริษัท/ร้าน
  4. เอกสารที่ได้รับจากประกันสังคม

                แต่ในกรณีที่ยังไม่ได้รับเอกสารจากสำนักงานประกันสังคม นายจ้างสามารถยื่นเอกสารข้างต้นไปที่สำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ได้เช่นเดียวกัน

จำนวนเงินเยียวยาที่ได้จะคิดตามจำนวนลูกจ้าง โดยจะได้ 3,000 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน แต่ไม่เกิน 200 คน สูงสุดไม่เกิน 600,000 บาท

นอกจากนั้น กรณีที่ตรวจพบว่าไม่ได้รับสิทธิในการรับเงินเยียวยา แต่ปัจจุบันบริษัท/ร้านทำกิจการ 9 ประเภทข้างต้น อาจจะต้องมีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงประเภทกิจการที่ได้ลงทะเบียนไว้กับสำนักงานประกันสังคม เพราะฉะนั้นให้นายจ้างรีบติดต่อสำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่เพื่อตรวจสอบประเภทกิจการที่ได้ลงทะเบียนไว้ หลังจากการทำเรื่องเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงประเภทกิจการ จ้าหน้าที่ประกันสังคมจะพิจารณาจ่ายเงินเยียวยาอีกครั้ง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List