Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

固定資産計上と減価償却について

減価償却費(Depreciation)は企業にとって損益に大きな影響を与える重要な費用になります。タイでは資産が一年以上の耐用年数があれば、固定資産・減価償却費の計上になります。資産の耐用年数が一年以内になる場合、一括で費用に計上します。例えば、耐用年数が短い事務用品などです。

 

会計上には現実的な資産利用と原価 反映するため、減価償却費を分割して1年ずつ計上します。資産の種類によって耐用年数が種類によって異なります。

 

<資産の耐用年数(税務上)>

建物:10年

事務用品:3年

コンピューター/ソフトウェア:3年

その他資産:5年

(土地は減価償却費なし)

 

減価償却費の計算方法は様々ありますが、よく使われるのは定額法(Straight Line Method)で、最も簡単な方法となります。この方法は資産の取得価額から残存価額を差し引いた金額を耐用年数で割ることにより、毎年の減価償却額を計算する方法です。式に表すと以下のようになります。

 (取得価額-残存価額) / 耐用年数 = 減価償却額

残存価額(Scrap value / Salvage value)は耐用年数が過ぎた固定資産の売却予想金額です。残存価格については、明確な決まりがないため一般的には1バーツとするか、資産の取得原価の何パーセントかで設定します。

 

(例)

企業が2,000,000バーツの機械を購入し、耐用年数が10年、残存価額が20,000バーツ(機械の取得原価の1%)の場合、式に表すと以下のようになります。

(2,000,000-20,000)/10年=198,000バーツ

このため、1年の減価償却費は198,000バーツとなります。

 

上の例からみると、1年経つと機械の帳簿上の価値が198,000バーツ下がり、10年経つと機械の価値が20,000バーツの残存価額となります。

定額法により、2,000,000バーツの機械は各期末の価値が以下の表のようになります。

(単位:バーツ)

年数

資産の価値

減価償却費

残り

1

2,000,000

198,000

1,802,000

2

1,802,000

198,000

1,604,000

3

1,604,000

198,000

1,406,000

10

218,000

198,000

20,000

 

毎年決算時に様々な費用を利益から差し引き、税金額を計算しますので、固定資産と減価償却費を適切に管理することが大切になります。

 

                ค่าเสื่อมราคา หรือ Depreciation เป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นส่วนสำคัญ เพราะ ค่าเสื่อมราคาเป็นค่าใช้จ่ายอย่างหนึ่งของบริษัทที่มีมูลค่ามาก และมีผลต่อกำไรขาดทุนต่อบริษัท โดยทั่วไป ค่าเสื่อมราคา จะเกิดขึ้นเมื่อสินทรัพย์ (Asset) นั้นมีประโยชน์การใช้เกินกว่า 1 รอบบัญชี (1ปี) ดังนั้น สินทรัพย์ที่กิจการซื้อมาแต่ใช้ประโยชน์จนหมดภายใน 1 ปี แบบนี้จะไม่เกิดค่าเสื่อมราคา แต่จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแทน เช่น อุปกรณ์สำนักงานที่มีอายุการใช้งานต่ำ เป็นต้น

 

ในทางบัญชี ค่าเสื่อมจะถูกตัดจำหน่ายออกเป็นงวดๆ เพื่อสะท้อนความเป็นจริงในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ และต้นทุนที่สมเหตุสมผล โดยแต่ละสินทรัพย์จะมีอายุการใช้งานไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับประเภทของสินทรัพย์นั้นๆ  โดยทั่วไปอายุการใช้งานของทรัพย์สิน จะประมาณเป็นปี

ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

อาคาร 10ปี

อุปกรณ์สำนักงาน 3 ปี

อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ 3ปี

อุปกรณ์ไฟฟ้า 5ปี

***ยกเว้นที่ดิน

 

                การคำนวณค่าเสื่อมมีอยู่หลายวิธี แต่ วิธีที่นิยมใช้กันคือวิธีเส้นตรง Straight Line Method  แบบเส้นตรงเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด เพราะจะแบ่งราคาทุนหลักจากหักราคาซากของสินทรัพย์เป็นค่าเสื่อมราคาประจำทุกปีในจำนวนที่เท่า ๆ กัน ตลอดอายุการใช้งานซึ่งมีสูตรดังนี้

สูตรการคำนวณ : (มูลค่าสินทรัพย์ – มูลค่าซากสินทรัพย์) ÷ อายุการใช้งาน

ราคาซาก (Scrap value หรือ Salvage value ) หมายถึง มูลค่าที่คาดว่าจะขายสินทรัพย์ถาวรนั้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ตามมาตราฐานการบัญชี  ก็ไม่มีการพูดชัดเจนในเรื่องของราคาซาก   ส่วนมากราคาซากจะกำหนดเป็นจำนวนเงินอย่างน้อย  1  บาท หรือคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าสินทรัพย์

 

ตัวอย่าง

สมมติว่ากิจการซื้อเครื่องจักรราคา 2,000,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 10 ปี จะมีราคาซาก 20,000 บาท (1%จากราคาเครื่องจักร) จากตัวอย่าง สามารถคำนวณได้ดังนี้

 (2,000,000 – 20,000) ÷ 10 ปี

ค่าเสื่อมราคาต่อปี = 198,000 บาท

 

จากตัวอย่างเมื่อเวลาผ่านไป 1 ปี มูลค่าของเครื่องจักรจะลดลงครั้งละ 198,000 บาท และเมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี มูลค่าของเครื่องจักรจะเหลือเพียงมูลค่าซากนั่นคือ 20,000 บาท

 ดังนั้นค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรงของเครื่องจักรมูลค่า 2,000,000 บาทจะมีมูลค่า ณ เวลาสิ้นปีแต่ละปีดังแสดงในตารางนี้

 

ระยะเวลาสิ้นปีที่                    มูลค่าสินทรัพย์      ค่าเสื่อมราคา           คงเหลือ

1                                              2,000,000                198,000                   1,802,000

2                                              1,802,000                198,000                   1,604,000

3                                              1,604,000                198,000                   1,406,000

…                                                   …                            …                             …

10                                            218,000                   198,000                     20,000

เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี มูลค่าเครื่องจักรจาก 2,000,000 บาทจะเหลือแค่มูลค่าซาก 20,000 นั

 

เหตุผลที่ในแต่ละปีจะมีค่าใช้จ่ายจำนวนมากที่สามารถนำมาหักรายได้เพื่อทำให้การเสียภาษีน้อยลงได้ การคิดค่าเสื่อมราคาจึงเป็นอีกอย่างหนึ่งที่บริษัทไม่ว่าขนาดเล็ก กลางหรือใหญ่ต้องให้ความสำคัญ

 

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

 

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

 

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List