Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

駐在員事務所の業務範囲について

駐在員事務所の業務範囲について

駐在員事務所は現地法人と比較してタイスタッフ雇用要件が緩和されているなど、ビザ・ワークパーミットが比較的取得しやすくなっています。

また、現地法人の場合は会社を閉じる際に税務調査など清算手続きに期間がかかるケースが多くありますが、駐在員事務所の場合は比較的閉鎖がしやすくなっています。

タイ入国の制限が少しずつ緩和してきており、タイでのビジネスを開始するための事前調査や現地の取引先の品質管理などを目的として駐在員事務所の設立を検討されるケースが多くなっているようです。

現地法人閉鎖後に現地の取引先の品質管理のため継続的に日本人駐在員を置く必要があるような場合に、駐在員事務所を設置するケースもみられます。

一方で駐在員事務所の業務範囲には一定の制約があり、売上を上げることや営業活動を行うことはできないため、業務範囲を確認したうえで設置の検討をする必要があります。

駐在員事務所の業務範囲は以下の5つに区分されています。1つのみまたは同時にいくつかの業務を行うことも可能です。

1. タイでビジネスを開始するため、タイの経済・マーケティング・投資・製造・販売などの情報を調査・収集し本社に報告すること。

2. タイで販売している本社の商品についての品質・技術・使用方法・修理方法を案内すること。

3. 本社が商品の購入またはアウトソーシングの利用を検討するため、製造場所・材料・商品・サービスを調査すること。

4.  標準の仕様に準拠するため、材料・商品・サービスの質や製造工程を検査、管理すること。

5. 本社の新規商品やタイで販売実績のある改良された商品について紹介すること。

---

ขอบเขตการดำเนินงานของสำนักงานผู้แทน

                เมื่อเทียบกับบริษัทจำกัดแล้วนั้นเงื่อนไขในการจ้างงานของสำนักงานผู้แทนจะค่อนข้างผ่อนปรนมากกว่ารวมถึงเรื่องอื่น ๆ เช่น การขอวีซ่า ใบอนุญาตทำงานก็ทำเรื่องขอได้ง่ายมากกว่า

                นอกจากนี้ หากต้องการปิดบริษัท ในกรณีที่เป็นบริษัทจำกัดจะต้องมีการตรวจภาษี ฯลฯ ที่เกี่ยวเนื่องกับการชำระบัญชี ซึ่งมักจะใช้เวลาค่อนข้างนาน แต่ในกรณีสำนักงานผู้แทนจะทำเรื่องปิดบริษัทได้ง่ายกว่า

                ปัจจุบันเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการเข้าประเทศไทยเริ่มค่อย ๆ ผ่อนปรนลง หลาย ๆ บริษัทจึงเริ่มพิจารณาที่เข้ามาจัดตั้งสำนักงานผู้แทนโดยมีจุดประสงค์ที่จะเข้ามาศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบคุณภาพสินค้าของคู่ค้า ฯลฯ ก่อนที่จะเริ่มเข้ามาตั้งบริษัทและดำเนินธุรกิจในประเทศไทย

                ในอีกกรณีหนึ่งคือ บางบริษัทได้ทำการตัดสินใจปิดบริษัทจำกัดลงแล้ว แต่จำเป็นที่จะต้องมีชาวญี่ปุ่นเหลือไว้ในประเทศไทย เพื่อทำการตรวจสอบคุณภาพสินค้ากับทางคู่ค้าในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดตั้งสำนักงานผู้แทนขึ้นมาแทน

                อย่างไรก็ตาม ขอบเขตการดำเนินงานของสำนักงานผู้แทนได้ถูกกำหนดไว้ และเนื่องจากว่าสำนักงานไม่สามารถมียอดขายและไม่สามารถดำเนินการทางธุรกิจได้ เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นต้องพิจารณาขอบเขตของการดำเนินงานก่อนที่จะตัดสินใจจัดตั้งสำนักงานผู้แทน

ขอบเขตของการดำเนินงานของสำนักงานผู้แทนนั้นถูกแบ่งออกเป็น 5 ประเภท โดยอาจจะเลือกดำเนินงานเพียงประเภทเดียวหรือหลายประเภทไปพร้อม ๆ กันก็ได้

  1. ศึกษารวบรวมข้อมูลในประเทศไทย เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การตลาด การลงทุน การผลิต การจัดจำหน่าย เป็นต้น และนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้รายงานต่อสำนักงานใหญ่ในต่างประเภท เพื่อประกอบการพิจารณาในการเข้ามาลงทุนในประเทศไทย
  2. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติ เทคนิค วิธีการใช้งาน รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาในการใช้สินค้าของสำนักงานใหญ่ที่ต่างประเทศที่ถูกนำเข้ามาจัดจำหน่ายในประเทศไทย
  3. หาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งผลิต วัตถุดิบ สินค้า บริการ ให้กับสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศเพื่อใช้สำหรับสั่งซื้อหรือจ้างผลิต
  4. ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของสินค้า บริการ หรือกระบวนการผลิตที่เกี่ยวเนื่องกับแหล่งผลิต วัตถุดิบ สินค้า บริการสำหรับสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศ เพื่อให้มีมาตรฐานตามที่กำหนด
  5. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการใหม่ของสำนักงานใหญ่ที่ต่างประเทศที่ยังไม่เคยมีจำหน่ายในประเทศไทย หรือสินค้าหรือบริการที่เคยนำเข้ามาจำหน่ายแล้วแต่มีการพัฒนาให้แตกต่างจากเดิม

_______________________________________________________________________

1 "สภาพการจ้าง" หมายความว่า เงื่อนไขการจ้างหรือการทํางาน กําหนดวันและเวลา ทํางาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้างหรือลูกจ้างอันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทํางานตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ. 2518 มาตรา 5

2 “มาตรา97” กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการไว้ เพื่อให้ร่วมหารือ ให้คำปรึกษา และเสนอแนะความเห็นแก่นายจ้างในการจัดสวัสดิการให้แก่ลูกจ้าง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List