Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

ビザキャンセルの手続きについての注意点

ビザキャンセルの手続きについての注意点

タイで就労している外国人が帰任する際に、「ビザをキャンセルしてからタイからすぐに出国する必要があるか」、「ビザをキャンセルしてから何日間タイに滞在できるか」、「ビザキャンセル手続きは事前に行なうことが可能かまたはタイ出国当日に行なう必要があるか」などの疑問があるかと存じます。帰国のスケジュールを立てるために、今回はビザキャンセルに関する手続きおよび注意点について記載いたします。

タイの滞在許可(ビザ)を得た外国人がイミグレーションでビザのキャンセルを申請する際、ビザ失効日(現在のビザでタイ滞在可能の最終日)をビザキャンセルの申請日または21日後までの期間で指定できます。ビザ失効日になるとタイ滞在許可が終了となり、外国人はタイ出国、または他のビザに切り替えるなどをしてタイ滞在する必要がございます。ビザ失効日以降に他のビザへの切り替えをせずにタイ滞在すると1日(Overstay)につき500バーツ(上限20,000バーツ)のペナルティーが発生いたします。

ビザ失効日の指定は現在のビザ・ワークパーミットの有効日を超えては設定できません。また、ビザのキャンセルは1回のみ手続きが可能となり、キャンセルの申請を取り消したり、キャンセルの申請後にビザ有効期間中に再入国許可(Re-entry Permit)を申請したりすることはできません。また、ビザのキャンセル後に外国人がタイを出国するとその時点でビザが失効になります。一度出国後に改めてタイ入国する際に新しいビザを取得しない場合は、ビザなしでの入国になってしまいます。ビザなしは観光目的の場合に限り、日本人の場合30日間タイに滞在ができますが、滞在中には就労はできません。

ビザキャンセル日からザ失効指定日までの数え方の具体的な例は、外国人のビザ・ワークパーミットの期日が4月30日で4月1日にイミグレーションでビザのキャンセルを申請する場合、ビザ失効日は4月1日~4月21日の期間で指定することができます。

ビザ・ワークパーミットの残りの有効期間が21日間を下回る場合、失効日は有効期間を超えて設定することは出来ません。例えば、外国人のビザ・ワークパーミットの期日が4月15日で、4月1日にイミグレーションにビザをキャンセル申請する場合、ビザ失効日は4月1日~4月15日の期間で指定する必要があります。

なお、ビザをキャンセルせずに急遽タイを出国した場合、ビザをバックデートでキャンセルすることは可能ですが、ビザキャンセルには外国人がタイに再度入国して手続きを行う必要がございます。また、ビザキャンセルに要する書類は外国人が就労した最終月の給与にかかる源泉税(PND1)申告書、会社登記簿、取締役の身分証、ワークパーミット等となります。

---

เรื่องที่ควรระวังในการยกเลิกวีซ่า

“เมื่อทำเรื่องยกเลิกวีซ่าแล้วจะต้องออกจากประเทศไทยเลยหรือไม่” “หลังจากยกเลิกวีซ่าแล้วสามารถอยู่ต่อได้อีกกี่วัน” “ยกเลิกวีซ่าสามารถทำเรื่องล่วงหน้าได้หรือไม่หรือต้องทำวันที่จะเดินทางออกนอกประเทศ” ชาวต่างชาติหลาย ๆ ท่านที่ทำงานอยู่ในประเทศไทย และกำลังจะกลับประเทศน่าจะมีคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่บ้าง เพราะฉะนั้นในครั้งนี้จึงขออธิบายกระบวนการยกเลิกวีซ่ารวมถึงข้อควรระวังเพื่อให้เกิดความเข้าใจและวางแผนการยกเลิกได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

ชาวต่างชาติที่ได้รับอนุญาตและอาศัยอยู่ในประเทศไทยสามารถทำเรื่องยกเลิกวีซ่าโดยการแจ้งพ้นหน้าที่ต่อสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ซึ่งสามารถกำหนดวันที่พ้นหน้าที่ (วันที่จะสามารถอยู่ในประเทศไทยได้ด้วยวีซ่าปัจจุบัน) เป็นวันที่ปัจจุบันหรือวันที่ในอนาคตได้สูงสุด 21 วัน และเมื่อถึงวันที่พ้นหน้าที่ตามที่ได้รับประทับลงตราจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแล้วจะถือว่าการได้รับอนุญาตให้อยู่ในประเทศไทยสิ้นสุดลงทันที ชาวต่างชาติจะต้องเดินทางออกนอกประเทศ หรือได้รับอนุญาตให้อยู่ต่อภายใต้เงื่อนไขอื่นต่อไป หากชาวต่างชาติอยู่เกินกว่าวันที่ประทับตราโดยที่ไม่มีวีซ่าชนิดอื่นมารองรับจะต้องเสียค่าปรับอยู่เกิน (Overstay) วันละ 500 บาท (ปรับสูงสุดไม่เกิน 20,000 บาท)

อย่างไรก็ตาม การระบุวันที่แจ้งพ้นหน้าที่จะต้องไม่เกินอนุญาตของวีซ่าและใบอนุญาตทำงานที่ได้รับในปัจจุบัน อีกทั้งการแจ้งพ้นหน้าที่นั้นสามารถดำเนินการได้เพียงครั้งเดียวและไม่สามารถขอเพิกถอนการแจ้งพ้น หรือทำ Re-Entry ในช่วงเวลาวีซ่าที่เหลืออยู่ได้ หากชาวต่างชาติเดินทางออกหลังจากที่ยกเลิกวีซ่าก็ถือว่าการอนุญาตสิ้นสุด (วีซ่าขาด) นับแต่วันที่เดินทางออกนอกประเทศ ในกรณีที่เดินทางกลับเข้ามาอีกครั้ง ชาวต่างชาติจะได้รับเป็นตราประทับยกเว้นวีซ่าซึ่งมีจุดประสงค์ไว้ใช้สำหรับท่องเที่ยวที่มีอายุไม่เกิน 30 วัน โดยวีซ่าชนิดนี้ไม่สามารถใช้ทำงานได้

ตัวอย่างในการนับวันยกเลิกวีซ่าล่วงหน้าและการกำหนดวันที่พ้นหน้าที่ เช่น ชาวต่างชาติมีวีซ่าและใบอนุญาตทำงานถึงวันที่ 30 เมษายน ต้องการติดต่อแจ้งพ้นหน้าที่ต่อสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในวันที่ 1 เมษายน ชาวต่างชาติสามารถระบุวันที่แจ้งพ้นได้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นไป แต่จะกำหนดได้สูงสุดไม่เกินวันที่ 21 เมษายน

ตัวอย่างกรณีวีซ่าและใบอนุญาตทำงานมีอายุน้อยกว่าวันที่ต้องการแจ้งพ้นหน้าที่ ชาวต่างชาติจะกำหนดวันที่แจ้งพ้นหน้าที่ได้ไม่เกินการอนุญาตเดิม เช่น ชาวต่างชาติมีวีซ่าและใบอนุญาตทำงานถึงวันที่ 15 เมษายน ต้องการติดต่อแจ้งพ้นหน้าที่ต่อสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในวันที่ 1 เมษายน ชาวต่างชาติสามารถระบุวันที่แจ้งพ้นได้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นไป แต่จะกำหนดได้สูงสุดไม่เกินวันที่ 15 เมษายน

ทั้งนี้ หากชาวต่างชาติท่านใดที่จำเป็นต้องเดินทางออกนอกประเทศโดยกะทันหันและไม่ได้ทำการยกเลิกวีซ่าก่อนการเดินทางนั้น สามารถทำเรื่องยกเลิกวีซ่าย้อนหลังได้ แต่จะต้องเข้ามาในประเทศไทยเพื่อทำการประทับตรายกเลิก และเอกสารที่ใช้ในการทำเรื่องนั้นคือภ.ง.ด.1 ณ เดือนที่ชาวต่างชาติท่านนั้นทำงานเป็นเดือนสุดท้าย, หนังสือรับรองบริษัท, บัตรประจำตัวประชาชนหรือพาสปอร์ตของกรรมการ, ใบอนุญาตทำงาน ฯลฯ

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List