Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

年末年始のプレゼント等の費用処理及び税務上の取り扱いについて

年末年始のプレゼント等の費用処理及び税務上の取り扱いについて

タイでは年末年始に取引先や従業員にプレゼントを贈ることがあります。条件によって贈答品の損金処理や仕入VATの計上は可能です。今回は以下の4つのケースについて説明致します。

  1. 年末年始に取引先にギフトバスケットを購入する場合

ギフトバスケットの購入はお祭りの期間中(正月、ソンクランなど)または一般的なビジネスの習慣に従いギフトバスケットに会社の名刺を貼って渡す場合には代金を損金として計上できます。ギフトバスケットの購入にかかる 仕入VATはタイ 歳入法典第82/5条の4に基づき損金不算入費用となります。

 

  1. 年末年始に取引先への贈与品を購入する場合

省令第143条(1979)(Ministerial Regulations No. 143 (B.E. 2522))に基づき、1人あたり上限2,000バーツを費用に計上できますが、2,000バーツを超えた金額は損金不算入費用となります。また歳入法第82/5条の4に基づき仕入VATは損金不算入費用となります。

 

  1. 年末年始に従業員のためのパーティーを行う場合

就業規則その他の社内規則に従業員のためのパーティーについて記載され、特定の従業員に限定されていない場合、パーティーに関する金額を費用に計上できます。ただし、従業員の人数と比較して高額になる場合、損金として認められない可能性もありますので注意が必要です。また、仕入VATの控除をするため、支払伝票に従業員のためのパーティーである旨を記載するのが望ましくなります。

 

  1. 年末年始に従業員のためのラッキードローのプレゼントを購入する場合

就業規則その他の社内規則に従業員のためのラッキードローのプレゼントについて記載され、特定の従業員に限定されていない場合、ラッキードローのプレゼントに関する金額を費用に計上できますが、金額が市場価格相当である必要があります。また、会計処理のために領収書や会社の権限者のサインがある購入エビデンスが必要となります。プレゼント購入にかかる仕入VATは控除を受けられますが、タイ 歳入法典第78条の1に基づき売上VATの申告も必要となります。

---

ค่าใช้จ่ายและภาษีที่เกี่ยวกับของขวัญปีใหม่

บริษัทส่วนใหญ่นิยม มอบของขวัญเพื่อตอบแทน ลูกค้าหรือพนักงาน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ นอกจากจะส่งเสริมเพิ่มความสัมพันธ์อันดีต่อบริษัทแล้ว บริษัทยังสามารถนำค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลปีใหม่ มาเป็นค่าใช้จ่ายที่ลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ ขอยกตัวอย่าง 4วิธีการเพื่อให้บริษัทสามารถนำมาลงเป็นค่าใช้จ่ายได้ดังนี้

 

  1. การซื้อกระเช้าของขวัญแจกลูกค้าในเทศกาลปีใหม่

การให้กระเช้าของขวัญปีใหม่แก่ลูกค้า  บริษัทสามารถหักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ โดยมีนามบัตรของบริษัทที่ระบุชื่อ ที่อยู่ และเครื่องหมายการค้าของบริษัทติดที่กระเช้าของขวัญดังกล่าว การซื้อของขวัญควรเป็นไปตามประเพณีธุรกิจทั่วไป ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์

ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อ ทางสรรพากรถือว่าเป็นภาษีซื้อต้องห้ามมิให้นำไปหักออกจากภาษีขาย ตามมาตรา 82/5(4) แห่งประมวลรัษฎากรและ ข้อ 5 ของประกาศอธิบดีฯ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 17)

 

  1. การซื้อของขวัญให้ลูกค้าในเทศกาลปีใหม่

ในทางค่าใช้จ่ายสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินคนละ 2,000 บาท ตาม กฎกระทรวงฉบับที่ 143 (พ.ศ. 2522) ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ตามมาตรา 82/5(4) แห่งประมวลรัษฎากรและ ข้อ 5 ของประกาศอธิบดีฯ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 17)

 

  1. การจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ให้พนักงานในเทศกาลปีใหม่

หากมีข้อกำหนดไว้ในระเบียบสวัสดิการของพนักงาน โดยไม่ได้กำหนดเจาะจงสำหรับพนักงานคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ สามารถนำมาเป็นรายจ่ายในทางภาษีได้ ทั้งนี้ มูลค่าในการจัดเลี้ยงควรจะสอดคล้องกับจำนวนพนักงาน ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายในการจัดเลี้ยงปีใหม่ บริษัทสามารถนำภาษีซื้อได้ เช่น การซื้อ อาหารมาจัดงานเลี้ยงแล้วมีภาษีมูลค่าเพิ่ม บริษัท สามารถนำมาคำนวนเป็นภาษีซื้อได้เต็มจำนวน แต่ต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าเป็นการซื้ออาหารเหล่านั้นมาเป็นสวัสดิการของพนักงาน

 

  1. การซื้อของขวัญให้พนักงานจับฉลากในเทศกาลปีใหม่

หากมีข้อกำหนดไว้ในระเบียบสวัสดิการของพนักงาน โดยไม่ได้กำหนดเจาะจงสำหรับพนักงานคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะถือเป็นรายจ่ายในทางภาษีได้ ราคาของสินค้าจับฉลากต้องเป็นไปตามราคาที่ซื้อขายกันในท้องตลาด โดยมีหลักฐานใบเสร็จรับเงินและมีการหลักฐานการอนุมัติโดยผู้มีอำนาจอนุมัติของบริษัทลงนาม

ในด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายในการซื้อของรางวัลจับฉลาก บริษัทสามารถนำมาเป็นภาษีซื้อได้เต็มจำนวน  ทางด้านภาษีขายที่เกิดจากการมอบของขวัญจับฉลากให้พนักงาน ถึงแม้จะกำหนดไว้ในสวัสดิการของพนักงาน แต่มีการส่งมอบสินค้าเกิดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา78(1)แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องนำส่งภาษีขายแต่ไม่จำเป็นต้องจัดทำใบกำกับภาษี

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List